แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

Magnetic Contactor

 

 

มาทำรู้จักกับ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งมีความสำคัญ หรือที่เรียกกันชื่อว่า คอนแทคเตอร์ (Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้าที่ใช้เพื่อเปิดและปิดหน้าสัมผัสในการตัดต่อวงจรระบบไฟฟ้า ซึ่ง Bangkok Absolute มีตัวอย่างการใช้ คอนแทคเตอร์ มาฝาก อาทิ การควบคุมระบบปั๊มน้ำ หรือมอเตอร์ และใช้งานกับเครื่องจักรของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ทั้งนี้การใช้งาน คอนแทคเตอร์ ต้องพิจารณาเลือกตามความเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่จะใช้งาน รวมทั้งขนาดของเครื่องจักรในการใช้งานด้วย เพื่อความปลอดภัยและป้องกันการเกิดความเสียหายที่จะตามมา

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีหน้าที่หลักอย่างไร

 

 

            การทำงานหลัก ๆ ของ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ เมื่อมีการจ่ายไฟฟ้าไปยังขดลวดสนามแม่เหล็กที่บริเวณขากลางของแกนเหล็ก ขดลวดจะทำการสร้างสนามแม่เหล็กที่มีแรงสนามแม่เหล็กมากกว่าแรงของสปริงเพื่อดึงแกนเหล็กชุดเคลื่อนได้ ให้เคลื่อนลงมา (ON) โดยที่ คอนแทคเตอร์ จะเปลี่ยนสภาวะในการทำงาน โดยปกติถ้าแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปิดจะเปิดวงจรจุดสัมผัสออก ส่วนแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปกติเปิดจะทำการต่อวงจรของจุดสัมผัส และเมื่อใดก็ตามที่กระแสไฟฟ้าไม่มีการไหลผ่านเข้าไปยังขดลวดแล้ว สนามแม่เหล็กคอนแทคเตอร์ทั้งแบบปกติเปิด และแบบปกติปิดก็จะอยู่ในสภาวะเริ่มต้นอีกครั้ง

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีความจำเป็นต้องใช้หรือไม่

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor)  “มีความจำเป็น” สำหรับงานที่มีการใช้ปั๊มน้ำขนาดใหญ่ เครื่องปั๊มที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม โรงงานขนาดใหญ่ เพราะต้องใช้งานหนักและใช้งานอย่างต่อเนื่อง มีความเสี่ยงที่จะเกิดความร้อน และอาจทำให้ขดลวดเกิดการไหม้ สร้างความเสียหายได้เป็นจำนวนมาก การติดตั้ง Magnetic contactor จะช่วยลดความเสี่ยง และช่วยให้การทำงานของเครื่องปั๊มในโรงงานอุตสาหกรรมมีความปลอดภัย รวมทั้งมีประสิทธิภาพการทำงานมากขึ้นด้วย ซึ่งกรณีของความจำเป็นนั้น สรุปได้ว่าก็ต้องขึ้นอยู่กับตัวอุปกรณ์ที่จะใช้ว่ามีการทำงานมากน้อยเพียงใด และเสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายหรือไม่ 

 

 

วิธีเลือกซื้อ Magnetic Contactor

 

 

สำหรับการเลือกซื้อ Magnetic Contactor นั้นก็มีเรื่องที่ควรทราบอยู่ 3 ประการสำคัญด้วยกัน นั่นก็คือ 

     1. ประเภทของโหลด จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่ IEC รองรับ อาทิเช่น AC-1 และ AC-3 เป็นต้น ซึ่งมอเตอร์ส่วนมากที่เราจะใช้ร่วมกับคอนแทคเตอร์นั้นจะเป็นแบบพวก AC-3 (Squirrel-cage motors) ซึ่งประเภทของโหลดนั้นก็จะมีหลากหลายประเภทด้วย ฉะนั้นแล้วการเลือกซื้อโดยทราบว่าโหลดเป็นแบบใดก่อนก็จะให้ความปลอดภัยได้มากกว่า 

     2. Inrush Current คอนแทคเตอร์ที่เลือกไปใช้งานนั้นจะต้องรองรับในเรื่องของกระแสที่สตาร์ทมอเตอร์ได้ด้วย เพราะไม่ใช่เพียงแค่รองรับกับการรันมอเตอร์เพียงอย่างเดียว 

     3. แรงดันของระบบไฟฟ้า แรงดันที่ใช้ในโรงงานนั้นๆ อุตสาหกรรมหนักในประเทศไทยมักจะใช้แรงดันที่สูงกว่า 440V ซึ่งอาจจะสูงถึง 690V ได้ กระแสที่ตัวคอนแทคเตอร์ทนได้นั้นขึ้นอยู่แรงดันของระบบไฟฟ้าในไซด์งานด้วย ดังนั้นตรงนี้เราก็ต้องตรวจสอบให้ดีก่อนว่าแมคเนติกที่ใช้นั้นรองรับแรงดันซัพพลายของโรงงานได้หรือไหม เพราะในแต่ละรุ่นก็จะมีฟังก์ชันที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ก็เพื่อความเสถียรและความปลอดภัยจากการใช้งานด้วย

 

 



            นอกจากวิธีการพิจารณาสามข้อนี้แล้ว สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาในการเลือกซื้อ Contactor ก็คือแบรนด์ของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ แมกเนติกคอนแทคเตอร์ จาก AAB ที่เป็นแบรนด์ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าชั้นนำ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัยในปัจจุบัน Bangkok Absolute ตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าแบรนด์ชั้นนำ มีสินค้าให้เลือกซื้อตามความเหมาะสมในการใช้งาน

 

 

 

 

 



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

บริษัท บางกอกแอบโซลูท อิเลคทริคแอนด์คอน จํากัด

ขอใบเสนอราคา : 02-398-3389

Line : @bangkokabsolute

https://web.facebook.com/bangkokab

 

Magnetic Contactor

 

 

มาทำรู้จักกับ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งมีความสำคัญ หรือที่เรียกกันชื่อว่า คอนแทคเตอร์ (Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้าที่ใช้เพื่อเปิดและปิดหน้าสัมผัสในการตัดต่อวงจรระบบไฟฟ้า ซึ่ง Bangkok Absolute มีตัวอย่างการใช้ คอนแทคเตอร์ มาฝาก อาทิ การควบคุมระบบปั๊มน้ำ หรือมอเตอร์ และใช้งานกับเครื่องจักรของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ทั้งนี้การใช้งาน คอนแทคเตอร์ ต้องพิจารณาเลือกตามความเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่จะใช้งาน รวมทั้งขนาดของเครื่องจักรในการใช้งานด้วย เพื่อความปลอดภัยและป้องกันการเกิดความเสียหายที่จะตามมา

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีหน้าที่หลักอย่างไร

 

 

            การทำงานหลัก ๆ ของ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ เมื่อมีการจ่ายไฟฟ้าไปยังขดลวดสนามแม่เหล็กที่บริเวณขากลางของแกนเหล็ก ขดลวดจะทำการสร้างสนามแม่เหล็กที่มีแรงสนามแม่เหล็กมากกว่าแรงของสปริงเพื่อดึงแกนเหล็กชุดเคลื่อนได้ ให้เคลื่อนลงมา (ON) โดยที่ คอนแทคเตอร์ จะเปลี่ยนสภาวะในการทำงาน โดยปกติถ้าแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปิดจะเปิดวงจรจุดสัมผัสออก ส่วนแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปกติเปิดจะทำการต่อวงจรของจุดสัมผัส และเมื่อใดก็ตามที่กระแสไฟฟ้าไม่มีการไหลผ่านเข้าไปยังขดลวดแล้ว สนามแม่เหล็กคอนแทคเตอร์ทั้งแบบปกติเปิด และแบบปกติปิดก็จะอยู่ในสภาวะเริ่มต้นอีกครั้ง

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีความจำเป็นต้องใช้หรือไม่

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor)  “มีความจำเป็น” แมกเนติก คอนแทคเตอร์ สำหรับงานที่มีการใช้ปั๊มน้ำขนาดใหญ่ เครื่องปั๊มที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม โรงงานขนาดใหญ่ เพราะต้องใช้งานหนักและใช้งานอย่างต่อเนื่อง มีความเสี่ยงที่จะเกิดความร้อน และอาจทำให้ขดลวดเกิดการไหม้ สร้างความเสียหายได้เป็นจำนวนมาก การติดตั้ง Magnetic contactor จะช่วยลดความเสี่ยง และช่วยให้การทำงานของเครื่องปั๊มในโรงงานอุตสาหกรรมมีความปลอดภัย รวมทั้งมีประสิทธิภาพการทำงานมากขึ้นด้วย ซึ่งกรณีของความจำเป็นนั้น สรุปได้ว่าก็ต้องขึ้นอยู่กับตัวอุปกรณ์ที่จะใช้ว่ามีการทำงานมากน้อยเพียงใด และเสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายหรือไม่ 

 

 

วิธีเลือกซื้อ Magnetic Contactor

 

 

สำหรับการเลือกซื้อ Magnetic Contactor นั้นก็มีเรื่องที่ควรทราบอยู่ 3 ประการสำคัญด้วยกัน นั่นก็คือ 

     1. ประเภทของโหลด จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่ IEC รองรับ อาทิเช่น AC-1 และ AC-3 เป็นต้น ซึ่งมอเตอร์ส่วนมากที่เราจะใช้ร่วมกับคอนแทคเตอร์นั้นจะเป็นแบบพวก AC-3 (Squirrel-cage motors) ซึ่งประเภทของโหลดนั้นก็จะมีหลากหลายประเภทด้วย ฉะนั้นแล้วการเลือกซื้อโดยทราบว่าโหลดเป็นแบบใดก่อนก็จะให้ความปลอดภัยได้มากกว่า 

     2. Inrush Current คอนแทคเตอร์ที่เลือกไปใช้งานนั้นจะต้องรองรับในเรื่องของกระแสที่สตาร์ทมอเตอร์ได้ด้วย เพราะไม่ใช่เพียงแค่รองรับกับการรันมอเตอร์เพียงอย่างเดียว 

     3. แรงดันของระบบไฟฟ้า แรงดันที่ใช้ในโรงงานนั้นๆ อุตสาหกรรมหนักในประเทศไทยมักจะใช้แรงดันที่สูงกว่า 440V ซึ่งอาจจะสูงถึง 690V ได้ กระแสที่ตัวคอนแทคเตอร์ทนได้นั้นขึ้นอยู่แรงดันของระบบไฟฟ้าในไซด์งานด้วย ดังนั้นตรงนี้เราก็ต้องตรวจสอบให้ดีก่อนว่าแมคเนติกที่ใช้นั้นรองรับแรงดันซัพพลายของโรงงานได้หรือไหม เพราะในแต่ละรุ่นก็จะมีฟังก์ชันที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ก็เพื่อความเสถียรและความปลอดภัยจากการใช้งานด้วย

 

 



            นอกจากวิธีการพิจารณาสามข้อนี้แล้ว สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาในการเลือกซื้อ Contactor ก็คือแบรนด์ของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ แมกเนติกคอนแทคเตอร์ จาก AAB ที่เป็นแบรนด์ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าชั้นนำ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัยในปัจจุบัน Bangkok Absolute ตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าแบรนด์ชั้นนำ มีสินค้าให้เลือกซื้อตามความเหมาะสมในการใช้งาน

 

 

 

 

 



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

บริษัท บางกอกแอบโซลูท อิเลคทริคแอนด์คอน จํากัด

ขอใบเสนอราคา : 02-398-3389

Line : @bangkokabsolute

https://web.facebook.com/bangkokab

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

Magnetic Contactor

 

 

มาทำรู้จักกับ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งมีความสำคัญ หรือที่เรียกกันชื่อว่า คอนแทคเตอร์ (Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้าที่ใช้เพื่อเปิดและปิดหน้าสัมผัสในการตัดต่อวงจรระบบไฟฟ้า ซึ่ง Bangkok Absolute มีตัวอย่างการใช้ คอนแทคเตอร์ มาฝาก อาทิ การควบคุมระบบปั๊มน้ำ หรือมอเตอร์ และใช้งานกับเครื่องจักรของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ทั้งนี้การใช้งาน คอนแทคเตอร์ ต้องพิจารณาเลือกตามความเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่จะใช้งาน รวมทั้งขนาดของเครื่องจักรในการใช้งานด้วย เพื่อความปลอดภัยและป้องกันการเกิดความเสียหายที่จะตามมา

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีหน้าที่หลักอย่างไร

 

 

            การทำงานหลัก ๆ ของ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ เมื่อมีการจ่ายไฟฟ้าไปยังขดลวดสนามแม่เหล็กที่บริเวณขากลางของแกนเหล็ก ขดลวดจะทำการสร้างสนามแม่เหล็กที่มีแรงสนามแม่เหล็กมากกว่าแรงของสปริงเพื่อดึงแกนเหล็กชุดเคลื่อนได้ ให้เคลื่อนลงมา (ON) โดยที่ คอนแทคเตอร์ จะเปลี่ยนสภาวะในการทำงาน โดยปกติถ้าแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปิดจะเปิดวงจรจุดสัมผัสออก ส่วนแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปกติเปิดจะทำการต่อวงจรของจุดสัมผัส และเมื่อใดก็ตามที่กระแสไฟฟ้าไม่มีการไหลผ่านเข้าไปยังขดลวดแล้ว สนามแม่เหล็กคอนแทคเตอร์ทั้งแบบปกติเปิด และแบบปกติปิดก็จะอยู่ในสภาวะเริ่มต้นอีกครั้ง

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีความจำเป็นต้องใช้หรือไม่

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor)  “มีความจำเป็น” สำหรับงานที่มีการใช้ปั๊มน้ำขนาดใหญ่ เครื่องปั๊มที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม โรงงานขนาดใหญ่ เพราะต้องใช้งานหนักและใช้งานอย่างต่อเนื่อง มีความเสี่ยงที่จะเกิดความร้อน และอาจทำให้ขดลวดเกิดการไหม้ สร้างความเสียหายได้เป็นจำนวนมาก การติดตั้ง Magnetic contactor จะช่วยลดความเสี่ยง และช่วยให้การทำงานของเครื่องปั๊มในโรงงานอุตสาหกรรมมีความปลอดภัย รวมทั้งมีประสิทธิภาพการทำงานมากขึ้นด้วย ซึ่งกรณีของความจำเป็นนั้น สรุปได้ว่าก็ต้องขึ้นอยู่กับตัวอุปกรณ์ที่จะใช้ว่ามีการทำงานมากน้อยเพียงใด และเสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายหรือไม่ 

 

 

วิธีเลือกซื้อ Magnetic Contactor

 

 

สำหรับการเลือกซื้อ Magnetic Contactor นั้นก็มีเรื่องที่ควรทราบอยู่ 3 ประการสำคัญด้วยกัน นั่นก็คือ 

     1. ประเภทของโหลด จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่ IEC รองรับ อาทิเช่น AC-1 และ AC-3 เป็นต้น ซึ่งมอเตอร์ส่วนมากที่เราจะใช้ร่วมกับคอนแทคเตอร์นั้นจะเป็นแบบพวก AC-3 (Squirrel-cage motors) ซึ่งประเภทของโหลดนั้นก็จะมีหลากหลายประเภทด้วย ฉะนั้นแล้วการเลือกซื้อโดยทราบว่าโหลดเป็นแบบใดก่อนก็จะให้ความปลอดภัยได้มากกว่า 

     2. Inrush Current คอนแทคเตอร์ที่เลือกไปใช้งานนั้นจะต้องรองรับในเรื่องของกระแสที่สตาร์ทมอเตอร์ได้ด้วย เพราะไม่ใช่เพียงแค่รองรับกับการรันมอเตอร์เพียงอย่างเดียว 

     3. แรงดันของระบบไฟฟ้า แรงดันที่ใช้ในโรงงานนั้นๆ อุตสาหกรรมหนักในประเทศไทยมักจะใช้แรงดันที่สูงกว่า 440V ซึ่งอาจจะสูงถึง 690V ได้ กระแสที่ตัวคอนแทคเตอร์ทนได้นั้นขึ้นอยู่แรงดันของระบบไฟฟ้าในไซด์งานด้วย ดังนั้นตรงนี้เราก็ต้องตรวจสอบให้ดีก่อนว่าแมคเนติกที่ใช้นั้นรองรับแรงดันซัพพลายของโรงงานได้หรือไหม เพราะในแต่ละรุ่นก็จะมีฟังก์ชันที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ก็เพื่อความเสถียรและความปลอดภัยจากการใช้งานด้วย

 

 



            นอกจากวิธีการพิจารณาสามข้อนี้แล้ว สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาในการเลือกซื้อ Contactor ก็คือแบรนด์ของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ แมกเนติกคอนแทคเตอร์ จาก AAB ที่เป็นแบรนด์ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าชั้นนำ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัยในปัจจุบัน Bangkok Absolute ตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าแบรนด์ชั้นนำ มีสินค้าให้เลือกซื้อตามความเหมาะสมในการใช้งาน

 

 

 

 

 



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

บริษัท บางกอกแอบโซลูท อิเลคทริคแอนด์คอน จํากัด

ขอใบเสนอราคา : 02-398-3389

Line : @bangkokabsolute

https://web.facebook.com/bangkokab

 

Magnetic Contactor

 

 

มาทำรู้จักกับ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งมีความสำคัญ หรือที่เรียกกันชื่อว่า คอนแทคเตอร์ (Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้าที่ใช้เพื่อเปิดและปิดหน้าสัมผัสในการตัดต่อวงจรระบบไฟฟ้า ซึ่ง Bangkok Absolute มีตัวอย่างการใช้ คอนแทคเตอร์ มาฝาก อาทิ การควบคุมระบบปั๊มน้ำ หรือมอเตอร์ และใช้งานกับเครื่องจักรของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ทั้งนี้การใช้งาน คอนแทคเตอร์ ต้องพิจารณาเลือกตามความเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่จะใช้งาน รวมทั้งขนาดของเครื่องจักรในการใช้งานด้วย เพื่อความปลอดภัยและป้องกันการเกิดความเสียหายที่จะตามมา

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีหน้าที่หลักอย่างไร

 

 

            การทำงานหลัก ๆ ของ อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า แมกเนติก คอนแทคเตอร์ เมื่อมีการจ่ายไฟฟ้าไปยังขดลวดสนามแม่เหล็กที่บริเวณขากลางของแกนเหล็ก ขดลวดจะทำการสร้างสนามแม่เหล็กที่มีแรงสนามแม่เหล็กมากกว่าแรงของสปริงเพื่อดึงแกนเหล็กชุดเคลื่อนได้ ให้เคลื่อนลงมา (ON) โดยที่ คอนแทคเตอร์ จะเปลี่ยนสภาวะในการทำงาน โดยปกติถ้าแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปิดจะเปิดวงจรจุดสัมผัสออก ส่วนแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปกติเปิดจะทำการต่อวงจรของจุดสัมผัส และเมื่อใดก็ตามที่กระแสไฟฟ้าไม่มีการไหลผ่านเข้าไปยังขดลวดแล้ว สนามแม่เหล็กคอนแทคเตอร์ทั้งแบบปกติเปิด และแบบปกติปิดก็จะอยู่ในสภาวะเริ่มต้นอีกครั้ง

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีความจำเป็นต้องใช้หรือไม่

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor)  “มีความจำเป็น” สำหรับงานที่มีการใช้ปั๊มน้ำขนาดใหญ่ เครื่องปั๊มที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม โรงงานขนาดใหญ่ เพราะต้องใช้งานหนักและใช้งานอย่างต่อเนื่อง มีความเสี่ยงที่จะเกิดความร้อน และอาจทำให้ขดลวดเกิดการไหม้ สร้างความเสียหายได้เป็นจำนวนมาก การติดตั้ง Magnetic contactor จะช่วยลดความเสี่ยง และช่วยให้การทำงานของเครื่องปั๊มในโรงงานอุตสาหกรรมมีความปลอดภัย รวมทั้งมีประสิทธิภาพการทำงานมากขึ้นด้วย ซึ่งกรณีของความจำเป็นนั้น สรุปได้ว่าก็ต้องขึ้นอยู่กับตัวอุปกรณ์ที่จะใช้ว่ามีการทำงานมากน้อยเพียงใด และเสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายหรือไม่ 

 

 

วิธีเลือกซื้อ Magnetic Contactor

 

 

สำหรับการเลือกซื้อ Magnetic Contactor นั้นก็มีเรื่องที่ควรทราบอยู่ 3 ประการสำคัญด้วยกัน นั่นก็คือ 

     1. ประเภทของโหลด จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่ IEC รองรับ อาทิเช่น AC-1 และ AC-3 เป็นต้น ซึ่งมอเตอร์ส่วนมากที่เราจะใช้ร่วมกับคอนแทคเตอร์นั้นจะเป็นแบบพวก AC-3 (Squirrel-cage motors) ซึ่งประเภทของโหลดนั้นก็จะมีหลากหลายประเภทด้วย ฉะนั้นแล้วการเลือกซื้อโดยทราบว่าโหลดเป็นแบบใดก่อนก็จะให้ความปลอดภัยได้มากกว่า 

     2. Inrush Current คอนแทคเตอร์ที่เลือกไปใช้งานนั้นจะต้องรองรับในเรื่องของกระแสที่สตาร์ทมอเตอร์ได้ด้วย เพราะไม่ใช่เพียงแค่รองรับกับการรันมอเตอร์เพียงอย่างเดียว 

     3. แรงดันของระบบไฟฟ้า แรงดันที่ใช้ในโรงงานนั้นๆ อุตสาหกรรมหนักในประเทศไทยมักจะใช้แรงดันที่สูงกว่า 440V ซึ่งอาจจะสูงถึง 690V ได้ กระแสที่ตัวคอนแทคเตอร์ทนได้นั้นขึ้นอยู่แรงดันของระบบไฟฟ้าในไซด์งานด้วย ดังนั้นตรงนี้เราก็ต้องตรวจสอบให้ดีก่อนว่าแมคเนติกที่ใช้นั้นรองรับแรงดันซัพพลายของโรงงานได้หรือไหม เพราะในแต่ละรุ่นก็จะมีฟังก์ชันที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ก็เพื่อความเสถียรและความปลอดภัยจากการใช้งานด้วย

 

 



            นอกจากวิธีการพิจารณาสามข้อนี้แล้ว สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาในการเลือกซื้อ Contactor ก็คือแบรนด์ของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ แมกเนติกคอนแทคเตอร์ จาก AAB ที่เป็นแบรนด์ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าชั้นนำ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัยในปัจจุบัน Bangkok Absolute ตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าแบรนด์ชั้นนำ มีสินค้าให้เลือกซื้อตามความเหมาะสมในการใช้งาน

 

 

 

 

 



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

บริษัท บางกอกแอบโซลูท อิเลคทริคแอนด์คอน จํากัด

ขอใบเสนอราคา : 02-398-3389

Line : @bangkokabsolute

https://web.facebook.com/bangkokab

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

Magnetic Contactor

 

 

มาทำรู้จักกับ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งมีความสำคัญ หรือที่เรียกกันชื่อว่า คอนแทคเตอร์ (Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้าที่ใช้เพื่อเปิดและปิดหน้าสัมผัสในการตัดต่อวงจรระบบไฟฟ้า ซึ่ง Bangkok Absolute มีตัวอย่างการใช้ คอนแทคเตอร์ มาฝาก อาทิ การควบคุมระบบปั๊มน้ำ หรือมอเตอร์ และใช้งานกับเครื่องจักรของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ทั้งนี้การใช้งาน คอนแทคเตอร์ ต้องพิจารณาเลือกตามความเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่จะใช้งาน รวมทั้งขนาดของเครื่องจักรในการใช้งานด้วย เพื่อความปลอดภัยและป้องกันการเกิดความเสียหายที่จะตามมา

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีหน้าที่หลักอย่างไร

 

 

            การทำงานหลัก ๆ ของ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ เมื่อมีการจ่ายไฟฟ้าไปยังขดลวดสนามแม่เหล็กที่บริเวณขากลางของแกนเหล็ก ขดลวดจะทำการสร้างสนามแม่เหล็กที่มีแรงสนามแม่เหล็กมากกว่าแรงของสปริงเพื่อดึงแกนเหล็กชุดเคลื่อนได้ ให้เคลื่อนลงมา (ON) โดยที่ คอนแทคเตอร์ จะเปลี่ยนสภาวะในการทำงาน โดยปกติถ้าแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปิดจะเปิดวงจรจุดสัมผัสออก ส่วนแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปกติเปิดจะทำการต่อวงจรของจุดสัมผัส และเมื่อใดก็ตามที่กระแสไฟฟ้าไม่มีการไหลผ่านเข้าไปยังขดลวดแล้ว สนามแม่เหล็กคอนแทคเตอร์ทั้งแบบปกติเปิด และแบบปกติปิดก็จะอยู่ในสภาวะเริ่มต้นอีกครั้ง

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีความจำเป็นต้องใช้หรือไม่

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor)  “มีความจำเป็น” สำหรับงานที่มีการใช้ปั๊มน้ำขนาดใหญ่ เครื่องปั๊มที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม โรงงานขนาดใหญ่ เพราะต้องใช้งานหนักและใช้งานอย่างต่อเนื่อง มีความเสี่ยงที่จะเกิดความร้อน และอาจทำให้ขดลวดเกิดการไหม้ สร้างความเสียหายได้เป็นจำนวนมาก การติดตั้ง Magnetic contactor จะช่วยลดความเสี่ยง และช่วยให้การทำงานของเครื่องปั๊มในโรงงานอุตสาหกรรมมีความปลอดภัย รวมทั้งมีประสิทธิภาพการทำงานมากขึ้นด้วย ซึ่งกรณีของความจำเป็นนั้น สรุปได้ว่าก็ต้องขึ้นอยู่กับตัวอุปกรณ์ที่จะใช้ว่ามีการทำงานมากน้อยเพียงใด และเสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายหรือไม่ 

 

 

วิธีเลือกซื้อ Magnetic Contactor

 

 

สำหรับการเลือกซื้อ Magnetic Contactor นั้นก็มีเรื่องที่ควรทราบอยู่ 3 ประการสำคัญด้วยกัน นั่นก็คือ 

     1. ประเภทของโหลด จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่ IEC รองรับ อาทิเช่น AC-1 และ AC-3 เป็นต้น ซึ่งมอเตอร์ส่วนมากที่เราจะใช้ร่วมกับคอนแทคเตอร์นั้นจะเป็นแบบพวก AC-3 (Squirrel-cage motors) ซึ่งประเภทของโหลดนั้นก็จะมีหลากหลายประเภทด้วย ฉะนั้นแล้วการเลือกซื้อโดยทราบว่าโหลดเป็นแบบใดก่อนก็จะให้ความปลอดภัยได้มากกว่า 

     2. Inrush Current คอนแทคเตอร์ที่เลือกไปใช้งานนั้นจะต้องรองรับในเรื่องของกระแสที่สตาร์ทมอเตอร์ได้ด้วย เพราะไม่ใช่เพียงแค่รองรับกับการรันมอเตอร์เพียงอย่างเดียว 

     3. แรงดันของระบบไฟฟ้า แรงดันที่ใช้ในโรงงานนั้นๆ อุตสาหกรรมหนักในประเทศไทยมักจะใช้แรงดันที่สูงกว่า 440V ซึ่งอาจจะสูงถึง 690V ได้ กระแสที่ตัวคอนแทคเตอร์ทนได้นั้นขึ้นอยู่แรงดันของระบบไฟฟ้าในไซด์งานด้วย ดังนั้นตรงนี้เราก็ต้องตรวจสอบให้ดีก่อนว่าแมคเนติกที่ใช้นั้นรองรับแรงดันซัพพลายของโรงงานได้หรือไหม เพราะในแต่ละรุ่นก็จะมีฟังก์ชันที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ก็เพื่อความเสถียรและความปลอดภัยจากการใช้งานด้วย

 

 



            นอกจากวิธีการพิจารณาสามข้อนี้แล้ว สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาในการเลือกซื้อ Contactor ก็คือแบรนด์ของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ แมกเนติกคอนแทคเตอร์ จาก AAB ที่เป็นแบรนด์ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าชั้นนำ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัยในปัจจุบัน Bangkok Absolute ตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าแบรนด์ชั้นนำ มีสินค้าให้เลือกซื้อตามความเหมาะสมในการใช้งาน

 

 

 

 

 



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

บริษัท บางกอกแอบโซลูท อิเลคทริคแอนด์คอน จํากัด

ขอใบเสนอราคา : 02-398-3389

Line : @bangkokabsolute

https://web.facebook.com/bangkokab

 

Magnetic Contactor

 

 

มาทำรู้จักกับ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งมีความสำคัญ หรือที่เรียกกันชื่อว่า คอนแทคเตอร์ (Contactor) อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้าที่ใช้เพื่อเปิดและปิดหน้าสัมผัสในการตัดต่อวงจรระบบไฟฟ้า ซึ่ง Bangkok Absolute มีตัวอย่างการใช้ คอนแทคเตอร์ มาฝาก อาทิ การควบคุมระบบปั๊มน้ำ หรือมอเตอร์ และใช้งานกับเครื่องจักรของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ทั้งนี้การใช้งาน คอนแทคเตอร์ ต้องพิจารณาเลือกตามความเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่จะใช้งาน รวมทั้งขนาดของเครื่องจักรในการใช้งานด้วย เพื่อความปลอดภัยและป้องกันการเกิดความเสียหายที่จะตามมา

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีหน้าที่หลักอย่างไร

 

 

            การทำงานหลัก ๆ ของ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ เมื่อมีการจ่ายไฟฟ้าไปยังขดลวดสนามแม่เหล็กที่บริเวณขากลางของแกนเหล็ก ขดลวดจะทำการสร้างสนามแม่เหล็กที่มีแรงสนามแม่เหล็กมากกว่าแรงของสปริงเพื่อดึงแกนเหล็กชุดเคลื่อนได้ ให้เคลื่อนลงมา (ON) โดยที่ คอนแทคเตอร์ จะเปลี่ยนสภาวะในการทำงาน โดยปกติถ้าแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปิดจะเปิดวงจรจุดสัมผัสออก ส่วนแมกเนติก คอนแทคเตอร์ปกติเปิดจะทำการต่อวงจรของจุดสัมผัส และเมื่อใดก็ตามที่กระแสไฟฟ้าไม่มีการไหลผ่านเข้าไปยังขดลวดแล้ว สนามแม่เหล็กคอนแทคเตอร์ทั้งแบบปกติเปิด และแบบปกติปิดก็จะอยู่ในสภาวะเริ่มต้นอีกครั้ง

 

 

แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) มีความจำเป็นต้องใช้หรือไม่

 

 

            แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor)  “มีความจำเป็น” สำหรับงานที่มีการใช้ปั๊มน้ำขนาดใหญ่ เครื่องปั๊มที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม โรงงานขนาดใหญ่ อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า เพราะต้องใช้งานหนักและใช้งานอย่างต่อเนื่อง มีความเสี่ยงที่จะเกิดความร้อน และอาจทำให้ขดลวดเกิดการไหม้ สร้างความเสียหายได้เป็นจำนวนมาก การติดตั้ง Magnetic contactor จะช่วยลดความเสี่ยง และช่วยให้การทำงานของเครื่องปั๊มในโรงงานอุตสาหกรรมมีความปลอดภัย รวมทั้งมีประสิทธิภาพการทำงานมากขึ้นด้วย ซึ่งกรณีของความจำเป็นนั้น สรุปได้ว่าก็ต้องขึ้นอยู่กับตัวอุปกรณ์ที่จะใช้ว่ามีการทำงานมากน้อยเพียงใด และเสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายหรือไม่ 

 

 

วิธีเลือกซื้อ Magnetic Contactor

 

 

สำหรับการเลือกซื้อ Magnetic Contactor นั้นก็มีเรื่องที่ควรทราบอยู่ 3 ประการสำคัญด้วยกัน นั่นก็คือ 

     1. ประเภทของโหลด จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่ IEC รองรับ อาทิเช่น AC-1 และ AC-3 เป็นต้น ซึ่งมอเตอร์ส่วนมากที่เราจะใช้ร่วมกับคอนแทคเตอร์นั้นจะเป็นแบบพวก AC-3 (Squirrel-cage motors) ซึ่งประเภทของโหลดนั้นก็จะมีหลากหลายประเภทด้วย ฉะนั้นแล้วการเลือกซื้อโดยทราบว่าโหลดเป็นแบบใดก่อนก็จะให้ความปลอดภัยได้มากกว่า 

     2. Inrush Current คอนแทคเตอร์ที่เลือกไปใช้งานนั้นจะต้องรองรับในเรื่องของกระแสที่สตาร์ทมอเตอร์ได้ด้วย เพราะไม่ใช่เพียงแค่รองรับกับการรันมอเตอร์เพียงอย่างเดียว 

     3. แรงดันของระบบไฟฟ้า แรงดันที่ใช้ในโรงงานนั้นๆ อุตสาหกรรมหนักในประเทศไทยมักจะใช้แรงดันที่สูงกว่า 440V ซึ่งอาจจะสูงถึง 690V ได้ กระแสที่ตัวคอนแทคเตอร์ทนได้นั้นขึ้นอยู่แรงดันของระบบไฟฟ้าในไซด์งานด้วย ดังนั้นตรงนี้เราก็ต้องตรวจสอบให้ดีก่อนว่าแมคเนติกที่ใช้นั้นรองรับแรงดันซัพพลายของโรงงานได้หรือไหม เพราะในแต่ละรุ่นก็จะมีฟังก์ชันที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ก็เพื่อความเสถียรและความปลอดภัยจากการใช้งานด้วย

 

 



            นอกจากวิธีการพิจารณาสามข้อนี้แล้ว สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาในการเลือกซื้อ Contactor ก็คือแบรนด์ของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ แมกเนติกคอนแทคเตอร์ จาก AAB ที่เป็นแบรนด์ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าชั้นนำ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัยในปัจจุบัน Bangkok Absolute ตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าแบรนด์ชั้นนำ มีสินค้าให้เลือกซื้อตามความเหมาะสมในการใช้งาน

 

 

 

 

 



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

บริษัท บางกอกแอบโซลูท อิเลคทริคแอนด์คอน จํากัด

ขอใบเสนอราคา : 02-398-3389

Line : @bangkokabsolute

https://web.facebook.com/bangkokab

เลือกชุบผิวโลหะเเบบอโนไดซ์ ชิ้นงานทนทานพร้อมสีสันที่สวยงามไม่เหมือนใคร

          Anodizing หรือการชุบสีอโนไดซ์ เป็นการชุบผิวโลหะ หรือบนผิวของอะลูมิเนียมโดยใช้เคมีอุณหภูมิและไฟฟ้าเป็นองค์ประกอบ ซึ่งชิ้นงานที่ถุกชุบอโนไดซ์จะมีเฉดสีสันต่างๆ พร้อมผิวสัมผัสที่เงาและลื่น เนื่องจากในกระบวนการชุบ จะมีการเติมสีเเทรกไปยังรูพรุนจำนวนมาก ที่เกิดจากกระบวนการทำให้เกิดออกไซด์ à¸ˆà¸²à¸à¸™à¸±à¹‰à¸™à¸ˆà¸¶à¸‡à¸¡à¸µà¸à¸²à¸£à¸ªà¸£à¹‰à¸²à¸‡à¸Šà¸±à¹‰à¸™à¸Ÿà¸´à¸¥à¸¡à¹Œà¹€à¸žà¸·à¹ˆà¸­à¸›à¸à¸›à¹‰à¸­à¸‡à¸œà¸´à¸§ โดยการชุบผิวโลหะเเบบอโนไดซ์ à¸ˆà¸°à¸¡à¸µà¸„วามหนาประมาน 20-30 à¹„มครอน ซึ่งมีความเเข็งเเรง ทนต่อการผุกร่อนได้ดี เเละชิ้นงานมีความสวยงามเหมาะกับการนำไปตกแต่งอีกด้วย  

 

การชุบผิวโลหะเเบบอโนไดซ์ สามารถชุบสีอะไรได้บ้าง


        การชุบผิวโลหะเเบบอโนไดซ์ สามารถทำสีได้หลากหลาย เช่น à¸ªà¸µà¸”ำ สีทอง สีน้ำเงิน สีม่วง สีส้ม สีเขียว สีเทา สีเเดง เป็นต้น ซึ่งเมื่อเทียบกับการทำสีแบบ Plating หรือ Powder Coating การทำสีเเบบอโนไดซ์จะมีความบางกว่า à¸žà¸·à¹‰à¸™à¸œà¸´à¸§à¸ªà¸µà¹à¸‚็งแรงมากกว่า เคลือบสีได้ดี ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการยึดเกาะของสีเเละความลื่น อีกทั้งยังมีต้นทุนค่าใช้จ่ายที่ไม่เเพง นอกจากนี้ งานชุบอโนไดซ์ à¸¢à¸±à¸‡à¸¡à¸µà¸‚้อดีอีกหลายประการเช่น ทนต่อการเสียดสีได้ดี ป้องกันการผุกร่อนของโลหะอะลูมิเนียม กระบวนการเล่านี้ทำให้ผิวอลูมิเนียมสร้างฟิล์มออกไซด์ใส ที่มีความหนาและความแข็งบนผิวของอลูมิเนียม ซึ่งสามารถทำสี เฉดสี ผิวสัมผัสที่เงาและลื่น โดยเกรดอลูมิเนียมที่นิยมนำมาชุบก็จะทำให้สีผิวของอลูมิเนียมเข้มอ่อนแตกต่างกัน

 

         à¹€à¸à¸£à¸”อลูมิเนียมที่นิยมนำมาชุบ 


         - อลูมิเนียมเกรด 1100

         - อลูมิเนียมเกรด 5083

         - อลูมิเนียมเกรด 6061

         - อลูมิเนียมเกรด 7075

        โดยชิ้นงานที่ผ่านการชุบผิวโลหะเเบบอโนไดซ์ จะมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้

        - มีความหนา Thickness 20-30 à¹„มครอน

        - ทนต่อการกัดกร่อน เสียดสี

        - เพิ่มอายุการใช้งานของอลูมิเนียม

        - ช่วยเพิ่มความลื่นความเงา

        - ช่วยเพิ่มสีสันบนผิวอลูมิเนียม หรือชิ้นงานโลหะต่างๆ

 

 

ตัวอย่างงานชุบอโนไดซ์สี 

 

งานชุบอโนไดซ์สีดำ

 

 อโนไดซ์สีดำ

 

งานชุบอโนไดซ์สีทอง

 

ชุบอโนไดซ์สีทอง

 

งานชุบอโนไดซ์สีเขียว

 

ชุบอโนไดซ์สีเขียว

 

งานชุบอโนไดซ์สีส้ม

 

ชุบอโนไดซ์สีส้ม

 

งานชุบอโนไดซ์สีน้ำเงิน

 

รับชุบอโนไดซ์สีน้ำเงิน


           à¸«à¸²à¸à¸•à¹‰à¸­à¸‡à¸à¸²à¸£à¸‡à¸²à¸™à¸Šà¸¸à¸šà¸­à¹‚นไดซ์สี à¸‡à¸²à¸™à¸Šà¸¸à¸šà¸œà¸´à¸§à¹‚ลหะ à¸„ุณภาพดี ราคาถูก ชุบผิวโลหะ โดย ห้างหุ้นส่วนจำกัด พรีซิชั่น โคตติ้ง โลจิสติก à¹€à¸£à¸²à¸¡à¸µà¹‚รงชุบโลหะอยู่ที่สมุทรปราการ พร้อมเครื่องมือในการตรวจสอบคุณภาพงานที่ทันสมัย มีประสบการณ์มากกว่า 20 ปี à¸£à¸±à¸šà¸Šà¸¸à¸šà¸œà¸´à¸§à¸šà¸™à¹‚ลหะเกือบทุกชนิด บริการรับขัดเงาสแตนเลส  รับชุบแข็งโลหะ ชุบฮาร์ดอโนไดซ์ รับชุบอลูมิเนียม ชุบแข็งอลูมิเนียม ชุบผิวโลหะ รับชุบนิเกิล ชุบ anodize รับขัดเงาสแตนเลส Hard Anodize ให้บริการตามความต้องการของลูกค้า คุณภาพดีตามมาตรฐานสากล    

 

สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่

pclcoating.pagesthai.com

pclcoating.com

pclcoating.co.th  

 

-------------------------------------------------------

บทความที่เกี่ยวข้อง

เเนวทางการเลือกโรงชุบโลหะที่ดีมีมาตรฐาน ชิ้นงานโลหะได้คุณภาพสูง

ความคุ้มค่าหลังการชุบอโนไดซ์สีบนพื้นผิวอลูมิเนียม

ข้อดีของการชุบฮาร์ดอโนไดซ์

ข้อคำนึงที่ผู้รับเหมาต้องรู้ ก่อนเตรียมตัวรับเทพื้นคอนกรีต

การเทพื้นคอนกรีตบริเวนภายนอกของสิ่งปลูกสร้างบ้านเรือนหรืออาคาร เป็นสิ่งที่สำคัญมาก เพราะถือเป็นด่านเเรกที่คนภายนอกจะเห็น à¸—ำให้ปัจจุบันการเลือกบริษัทที่รับเทพื้นคอนกรีตมีการเติบโตเพิ่มเนื่องจากมีผู้ใช้บริการมากขึ้น เเต่อย่างไรก็ตาม การเทพื้นคอนกรีตก็เป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนเเละมีความปราณีต เพราะหากดำเนินงานผิดขั้นตอน ก็อาจจะทำให้การเทปูนไม่เรียบสวย ไม่เป็นไปตามเเผนการที่วางไว้ ดังนั้น ในการเลือกบริษัทที่รับเทพื้นกรีต จึงควรพิจารณาให้รอบคอบเสมอจากประสบการณ์ของช่างที่รู้เทคนิคหรืออุปกรณ์เครื่องมือก่อสร้างที่ได้มาตรฐาน

 

งานปาดเลเซอร์


รับเทพื้นคอนกรีต

 

 

การเทพื้นคอนกรีตที่ดี ผู้รับเหมาควรเตรียมพร้อมอย่างไร


ผู้รับเหมาที่รับเทพื้นคอนกรีตควรมีการวางเเผนก่อนเริ่มดำเนินงานเสมอ เพื่อป้องกันความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น ตั้งเเต่ขั้นตอนการเคลียร์พื้นที่ นั่นคือกำจัดวัชพืช หรือเศษขยะ เศษหินออกไป เพื่อป้องกันฟองอากาศอันเป็นสาเหตุของรอยร้าว เเละวางเเผนการเตรียมเทคอนกรีตที่ได้มาตรฐาน à¸¡à¸µà¸­à¸±à¸•à¸£à¸²à¸à¸²à¸£à¹€à¸—ที่เหมาะสม เเละรายละเอียดอื่นๆ ที่จำเป็นก่อนเทคอนกรีต อย่างเช่น à¹€à¸«à¸¥à¹‡à¸à¹€à¸ªà¸£à¸´à¸¡à¸«à¸£à¸·à¸­à¸­à¸¸à¸›à¸à¸£à¸“์ที่จะฝังในคอนกรีต เพราะหากมีการเทคอนกรีตที่ถูกต้อง ก็จะทำให้พื้นคอนกรีตไม่เเตกร้าวพังง่ายก่อนเวลาอันสมควร

โดยความหนาของพื้นคอนกรีตส่วนใหญ่จะอยู่ที่ 15 เซนติเมตร มีกำลังอัดอยู่ที่ 180 à¸–ึง 240 กิโลกรัม ต่อตารางเซนติเมตร เปรียบได้กับความแข็งแรงที่จะรับน้ำหนักรถยนต์ได้ เเต่ถ้าหากบริษัทที่รับเทพื้นคอนกรีตมีการดำเนินงานที่ผิดพลาดขึ้นมา เช่น การเทระดับพื้นที่ต่ำกว่าระดับที่กำหนดไว้ หากไม่รื้อทุบทิ้ง ก็อาจจะแก้ปัญหาโดยเทคอนกรีตเสริมทับหน้าให้หนา เเต่อย่างที่กล่าวไปข้างต้น หากวางเเผนงานไว้เเล้ว ก็ไม่ควรให้เกิดความผิดพลาด เพราะระดับความหนาของคอนกรีตวิศวกรได้คำนวนเอาไว้เเล้ว เคสที่ยกตัวอย่างไป ถือว่า เป็นความหนาของพื้นที่ที่เกินกว่าที่วิศวกรได้วางเเผนเอาไว้ เป็นภาระน้ำหนักส่วนที่เพิ่มขึ้น รับเทพื้นคอนกรีต อาจส่งผลเสียต่อความแข็งแรงและส่งผลต่อการรับน้ำหนักของอาคาร

 

บริษัท นัฐคอน คอปอเรชั่น จำกัด à¹ƒà¸«à¹‰à¸šà¸£à¸´à¸à¸²à¸£à¸‚ัดพื้นคอนกรีต ขัดมันคอนกรีตเบิร์นนิช ฟลอร์ ขัดพื้นคอนกรีตอุตสาหกรรม รับขัดพื้นคอนกรีต รับขัดพื้นปูน งานเทพื้นคอนกรีต รับเหมาเทพื้นคอนกรีต รับเทพื้นคอนกรีต งานปั๊มคอนกรีต บริการปั๊มคอนกรีต งานขัดมันพื้นคอนกรีต ปาดปูนเลเซอร์สกรีต Super flat floor ขัดพื้นBurnished Floor ขัดพื้นโกดัง Laser Screed concrete ขัดพื้นฟลอฮาร์ด (Floor Hardener) ปั๊มคอนกรีตบูม ปั๊มลาก เช่าปั๊มคอนกรีต ปาดหน้าคอนกรีต ขัดพื้นลานจอดร อุดร่องรอยต่อคอนกรีต เทปูนโรงงาน เป็นต้น โดย เรามีทีมงานมืออาชีพมากประสบการณ์ด้านงานพื้น เราใช้เทคโนโลยีนำเข้าจากต่างประเทศมาใช้ในงาน

 

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

http://nutcon.pagesthai.com

www.nutcongroup.com

www.nutcons.com

 

------------------------------------------------------

บทความที่เกี่ยวข้อง

ทำความรู้จักกับระบบกันซึมเพียวโพลียูเรีย วัสดุกันซึมชนิด 100%

ลักษณะของการใช้งานปั๊มบูม (Boom Pump)

ทำไมพื้นคอนกรีตต้องมีรอยต่อ

 

 

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15